เรื่องของใจ เป็นเรื่องเข้าใจยาก เพราะใจไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้ มองไม่เห็น
๑. พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้เราหาที่พึ่ง ที่พึ่งของเรามี ๓ อย่าง ที่เราเรียกว่า “ไตรสรณาคมน์” ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ตามที่พระองค์ประทานแก่ปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันคำสอนอันนี้ พระสงฆ์ใช้สอนพุทธบริษัท จนทุกวันนี้ คำสอนนี้ ก็คือ
สรุปเรื่องความต้องการของมนุษย์
เราได้เรียนเรื่องความต้องการของมนุษย์ และความต้องการของนักบวชมาแล้ว ว่ามีความต้องการอะไร ความต้องการเหล่านั้นเราสามารถทำขึ้นได้หรือไม่ ตอบว่า เราสามารถให้ความต้องการเหล่านั้นมีขึ้นได้จริง โดยการพัฒนาใจตามแนวของพระศาสดา
เหตุใดจึงเอาใจไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ เหตุที่ต้องตั้งใจตรงฐานที่ ๗ ก็เพราะดวงธรรมที่ทำให้เป็นมนุษย์อยู่ตรงนี้ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นมนุษย์หรือดวงปฐมมรรค อยู่ตรงนี้ ตั้งใจถูกมรรค คือถูกทาง ตั้งใจไม่ถูกดวงปฐมมรรค ก็ไม่พบทางเดินของใจ ใจเดินมรรคผลไม่ถูก เกิดการวกวน วนเวียน และวนเวียนตลอดไป เปิดโอกาสให้กิเลสหลอก ต้ม ตุ๋น ตลอดไป
วิธีทำให้เห็น ศีล สมาธิ ปัญญา ตามหลักมรรค ๘
ลำดับแรก
ให้ท่านนึกรวมใจของท่านเป็นจุดเดียว นึกให้เป็นจุดใสไม่ได้ ก็ให้นึกเป็นดวงแก้วขนาดโตเท่าแก้วตา
นึกให้ดวงนี้ใสและบริสุทธิ์ ต้องนึกให้ใส และให้สว่างเข้าไว้
เมื่อทำได้ถึงขั้นนี้ แปลว่า ใจของท่านพร้อม ที่จะรับการพัฒนาให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ มรรค ๘
ตามวิธีการดังต่อไปนี้
วิธีการพัฒนาให้ใจเกิดความใสและสว่าง เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องเรียนรู้ก่อน ปกติใจของเราไม่ใส ไม่สงบ ไม่ระงับ เอาแต่คิดนึกเรื่องราวทั้งหลาย เพียงนาทีเดียวก็คิดหลายเรื่อง การจะทำให้ใจสงบและนิ่ง เป็นเรื่องทำยาก
วิธีบูชาพระของพระมงคลเทพมุนี,คำขอขมาโทษ,คำอาราธนา,คำอธิษฐาน,การบอกกำหนดดวงนิมิต เพื่อพัฒนาใจต่อไป,การวัดผล
การฝึกพัฒนาใจตามคำสอนของพระศาสดาข้อ ๓ ที่ว่า สจิตฺตปริโยทปนํ ซึ่งแปลว่า ทำใจให้สว่างใสนั้น มีการฝึกเป็น ๒ แบบ คือฝึกเฉพาะตน และฝึกเป็นหมู่คณะ มีข้อแนะนำดังนี้
มวลมนุษย์จะได้รับความสุข จะต้องประพฤติตนตามคำสอนของพระศาสดา คำสอนของพระศาสดามี ๓ ข้อ คือ
พระพุทธศาสนาสอนอย่างไร เราได้อะไรจากคำสอนนั้น
พระพุทธศาสนา มีคำสอนอันประเสริฐ ผู้ปฏิบัติตามคำสอนย่อมหมดทุกข์ ได้รับความสุข ทั้งความสุข
เบื้องต้น ความสุขชั้นกลาง และอมตสุข คือ ความสุขอันยิ่ง
หากได้ฝึกจิตตามหลัก “มรรค ๘” ด้วยแล้ว ท่านจะได้บรรลุ “ธรรมกาย” เป็นผลให้หมดชาติ หมดภพไม่เวียนว่ายตายดับกันอีกต่อไป
อ่านเพิ่มเติม: พระพุทธศาสนาสอนอย่างไร เราได้อะไรจากคำสอนนั้น
ปัญหาด้อยคุณธรรม ทำให้รัฐเสียเงินงบประมาณก้อนใหญ่
ปัญหาน้อยใหญ่ที่เกิดขึ้นในบ้านเรา ลูกฆ่าพ่อ พ่อข่มขืนลูก ปล้น จี้ อาชญากรมือปืนรับจ้าง ยาเสพติด แย่งตำแหน่งราชการ แย่งกันเป็นนายกฯ สภากลายเป็นที่ด่ากัน คนเรียนจบปริญญาเอก แสดงกิริยาไม่น่าดู สารพัดเรื่องที่จะเห็นข่าวในโทรทัศน์ มาจากคนขาดคุณธรรมทั้งสิ้น "เราจะอยู่กันอย่างไร"
อ่านเพิ่มเติม: ปัญหาด้อยคุณธรรม ทำให้รัฐเสียเงินงบประมาณก้อนใหญ่
ธรรมกาย คือ พระปฏิมากร (พระพุทธรูป) เกตุดอกบัวตูม ขาวและใส ประดุจเพชร รัศมีโชติ
ธรรมกาย เป็นตัวพระรัตนตรัย
รัตนะ แปลว่า แก้ว ตรัย แปลว่า สาม
รัตนตรัย แปลว่า แก้ว ๓ ประการ เป็นแก้วขาวและใส มีชีวิตจิตใจ พูดได้ เคลื่อนไหวได้ เป็น“แก้วเป็น” ไม่ใช่แก้วตายเหมือนอย่างแก้วน้ำขวดน้ำ หรือกระจกที่ขายตามตลาด แก้วน้ำขวดน้ำกระจกตามตลาด เป็นแก้วตายเพราะไม่มีชีวิตจิตใจ พูดไม่ได้เคลื่อนไหวไม่ได้ที่ว่า รัตนตรัย เป็นแก้ว ๓ ประการ คือ
การพัฒนาใจ(ฝึกสมาธิ) คือคำตอบ ความต้องการของมนุษย์
เรามาเรียนกันว่า มนุษย์เรามีความต้องการอะไรบ้าง มีนักปราชญ์กล่าวไว้ต่างกัน ในที่นี้ขอกล่าวถึงความต้องการของมนุษย์ว่ามนุษย์มีความต้องการ ๒ อย่าง
(๑.)ความต้องการส่วนตัว เป็นความต้องการส่วนตัวของแต่ละบุคคล
(๒.)ความต้องการของมนุษย์ที่มีต่อโลก คือต้องการให้โลกเป็นที่น่าอยู่น่าอาศัย
การเห็นดวงธรรมที่ถูกต้องนั้นคืออย่างไร?
เป็นเรื่องสำคัญที่เราต้องเรียนรู้แต่เบื้องต้นว่า การเห็นดวงธรรมที่ถูกต้องนั้นคืออย่างไร การเห็นที่ถูกต้องนั้น มีกฎเกณฑ์ดังนี้
การศึกษาเพื่อสร้างคุณธรรมนั้นมีหลายกระบวนการ
เรามีหน้าที่ต้องศึกษาเล่าเรียนพระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดา เพื่อจะได้นำความรู้นั้นมาสร้างคุณธรรมให้เกิดแก่ใจของเรา แม้จะยากแต่เราก็ต้องเรียน นอกจากจะเกิดประโยชน์แก่ตนเองแล้วยังจะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนนักศึกษาด้วย กระบวนการเรียนรู้พระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดามี ๓ กระบวนการ ดังนี้
การรักษาดวงธรรมและรักษาองค์พระธรรมกายไม่ให้เลือนหาย
ท่านที่ฝึกพัฒนาใจจนเห็นดวงธรรมขาวใสในท้องตนแล้วก็ดี หรือท่านที่เห็นดวงธรรมแล้ว และต่อวิชาจนเห็นพระพุทธรูปขาวใส (ธรรมกาย) แล้วก็ดี พึงรักษาดวงธรรมหรือองค์พระไว้ให้จงดี ถ้าไม่รักษาไว้ จะเลือนหายไป เราจะเสียใจว่าเราหมดที่พึ่งทางใจเสียแล้ว วิธีรักษาให้ปฏิบัติดังนี้
มีใครบอกให้เรารวมใจ เราจะทำอย่างไร ในทางปฎิบัติ ท่านให้รวมความรู้สึกนึกคิด เป็นหนึ่ง คือให้เป็นจุดเดียวกัน นั่นคือ ให้ความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ รวมเป็นจุดเดียวกัน